วิศวกรและนักเทคโนโลยีอวกาศ แน่นอนว่าจะต้องเป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับอวกาศอย่างปฏิเสธไม่ได้ หลายคนอาจจะสงสัยว่าทำไมเราถึงมีภาพมุมสูงที่มองเห็นสภาพแวดล้อม หรือพื้นดินของโลกได้ มีคนขึ้นบินไปถ่ายใช่หรือไม่ ? คำตอบคือสิ่งที่ทำให้เราสามารถมองเห็นสภาพแวดล้อมของโลกเราจากมุมสูงได้นั้น มาจากสิ่งที่เรียกว่า “ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร” ที่มีหน้าที่สำรวจทรัพยากร และถ่ายภาพทรัพยากรโลกจากมุมสูง ลงมาให้เราได้เห็นและเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ของโลกใบนี้ต่อไป และหากใครอยากรู้ว่าวิศวกรและนักเทคโนโลยีอวกาศด้านภาพถ่ายดาวเทียมมีการทำงานอย่างไร และดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทยอย่าง “ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote)” จะมีการทำงานอย่างไรบ้างนั้น เรียนรู้พร้อมกันไปกับ คุณแจ็ค ว่าที่ร้อยตรี วรธันย์ วิชาคุณ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการข้อมูลดาวเทียม Gistda
เส้นทางสู่การเป็นวิศวกรและนักเทคโนโลยีอวกาศ
รู้จักกับวิศวกรและนักเทคโนโลยีอวกาศ Gistda
เรียนรู้วิธีการและขั้นตอนการทำงานจริง
ไม่พบข้อมูล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มุ่งมั่นให้การศึกษาและวิจัยเพื่อผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควบคู่จริยธรรม และรักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมประกอบด้วยหลักสูตรภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคมภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ภาควิชาวิศวกรรมโยธาภาควิชาวิศวกรรมเคมีภาควิชาวิศวกรรมอาหารภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลภาควิชาวิศวกรรมเกษตรภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ภาควิชาวิศวกรรมการวัดและควบคุมภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์School of International & Interdisciplinary Engineering Programs
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะวิศวกรรมศาสตร์มุ่งผลิตวิศวกรมืออาชีพ ที่มีวิชาการเป็นเลิศและศักยภาพการเป็นผู้สร้างนวัตกรรม สามารถทำงานในระดับสากล ผลิตผลงานวิจัยและวิชาการทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับในระดับสากลประกอบด้วยหลักสูตรหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเครื่องมือวัด สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ระบบไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์กำลังและพลังงาน)สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและพลังงานสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการสาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องมือสาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ หลักสูตรปริญญาตรี (นานาชาติ) สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์สาขาวิชาวิศวกรรมอัตโนมัติสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์โรงเรียนวิศวกรรมแห่งแรกและอันดับหนึ่งของประเทศไทย และอันดับต้นๆ ของเอเชีย* มุ่งสร้างวิศวกรที่มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานในระดับนานาชาติ เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาซึ่งสังกัดภาควิชาต่าง ๆ อาทิ ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม ฯลฯ รวมทั้งเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติหลายหลักสูตร เช่น Nano Engineering และ Aerospace Engineering ในระดับปริญญาตรีด้วยประกอบด้วยภาควิชาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์Technology and Behavioral Disruption มีผลกระทบทั้งในเชิง Digital & Bio-Economy พร้อมกับกดดันให้เกิดการปฏิวัติทางการเรียนการสอน การวิจัย และบริการวิชาการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เน้นกระบวนการคิดเชิงระบบ ตรรกะ วิเคราะห์ และวิพากษ์ที่รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำและปลอดภัยประกอบด้วยภาควิชาภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์มุ่งพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและการเข้าสู่ระดับสากล โดยเน้นแนวทางการจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ สร้างนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดจนการพัฒนาให้มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางบวกต่อระบบสังคมอย่างยั่งยืน มีการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การต่อยอด ทบทวนหลักสูตร จัดฝึกอบรม/สัมมนา โดยเฉพาะที่ศูนย์พัทยา เพื่อตอบสนองความต้องการการเติบโตของอุตสาหกรรมในพื้นที่และพื่นที่ใกล้เคียง รวมทั้งการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์/พื้นที่การจัดการเรียนการสอนที่สามารถตอบสนองกับแต่ละลักษณะวิชาทางด้านวิศกรรมศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วยภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์วิศวกรรมอุตสาหการวิศวกรรมเครื่องกลวิศวกรรมโยธาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะวิศวกรรมศาสตร์มุ่งสร้างสรรค์งานวิจัย นวัตกรรม และวิชาการด้านวิศวกรรมเชิงบูรณาการระดับโลก เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะแห่งโลกยุคใหม่และสามารถพัฒนางานด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงที่ตอบสนองสังคมโลกประกอบด้วยหลักสูตรหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์